หน้าแรก ITA แบบสอบถามฯ Facebook Admin webmail

อำนาจหน้าที่

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลส้มป่อย
อานาจหน้าที่
อานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลส้มปุอย แยกออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ อานาจหน้าที่ตามกฎหมายจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบล และอานาจหน้าที่ตามกฎหมายกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
อานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒
องค์การบริหารส่วนตาบลมีอานาจหน้าที่ในการพัฒนาตาบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมกิจการสาธารณที่องค์การบริหารส่วนตาบล มีอานาจหน้าที่จัดทาสามารถจาแนก ได้ ๒ ประเภท คือ
๑. องค์การบริหารส่วนตาบล มีหน้าที่ต้องทาในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ดังต่อไปนี้
(๑) จัดให้มีและบารุงรักษาทางน้าและทางบก รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย การดูแลการจราจร และส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
(๒) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้า ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกาจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
(๓) ปูองกันและระงับโรคติดต่อ
(๔) ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
(๕) จัดการ ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการสถานศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และการฝึกอบรมให้แก่ประชาชน รวมทั้งการจัดการหรือสนับสนุนการดูแลและพัฒนาเด็กเล็กตามแนวทางที่เสนอแนะจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
(๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กเ เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
(๗) คุ้มครอง ดูแล และบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(๘) บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจาเป็นและสมควร
๒. กิจการที่องค์การบริหารส่วนตาบลอาจจัดทากิจการในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ดังต่อไปนี้
(๑) ให้มีน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
(๒) ให้มีและบารุงการไฟฟูาหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
(๓) ให้มีและบารุงรักษาทางระบายน้า
องค์การบริหารส่วนตาบลส้มปุอย
-๒-
(๔) ให้มีและบารุงสถานที่ประชุม การกีฬา กสนพักผ่อนหย่อนใจและสวนธารณะ
(๕) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรและกิจการสหกรณ์
(๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(๗) บารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
(๘) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(๙) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตาบล
(๑๐) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
(๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
(๑๒) การท่องเที่ยว
(๑๓) การผังเมือง
อาหน้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่เป็นการตัดอานาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จาดาเนินกิจการใด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตาบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตาบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตาบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดาเนินกกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรมหรือองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ นาความเห็นขององค์การบริหารส่วนตาบล ไปประกอบการพิจารณาดาเนินกิจกรรมนั้นด้วย
การปฏิบัติงานตามอานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบล ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทาแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบล การจัดทางบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงานและการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลีกเกณฑ์และวิธิการที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติให้องค์การบริหารส่วนตาบลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดาเนินกิจการของทางราชการในตาบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ
องค์การบริหารส่วนตาบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบลเพื่อให้บังคับในเขตองค์การบริหาร
ได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบล ในการนี้จะกาหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกาหนดโทษปรับผู้ฝุาฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กาหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาทเว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น
ในส่วนของการบริหารงานนั้น องค์การบริหารส่วนตาบลมีการจัดแบ่งการบริหารงานออกเป็น สานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล และกองต่าง ๆ ที่องค์การบริหารส่วนตาบลได้ตั้งขึ้น โดยมีพนักงานส่วนตาบลเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และองค์การบริหารส่วนตาบลสามารถขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วย
-๓-
ราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ไปดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตาบลชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอานาจอนุญาตได้ตามความจาเป็น และในกรณีที่เป็นข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัดให้กระทรวงมหาดไทยทาความตกลงกับหน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง
นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตาบล อาจทากิจกรรมนอกเขตองค์การบริหารส่วนตาบล หรือร่วมกับสภาตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อกระทากิจกรรมร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตาบลองค์การบริหารส่วนตาบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจกรรมนั้นเป็นกิจการที่จาเป็นต้องทาและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของตน
อานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้กาหนดให้รัฐต้องกระจายอานาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งในฐานะที่องค์การบริหารส่วนตาบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งรัฐก็ต้องกระจายอานาจหน้าที่ให้กับองค์การบริหารส่วนตาบล โดยได้มีการกาหนดไว้ในมาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๖ ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวได้กาหนดให้องค์การบริหารส่วนตาบล มีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริหารสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้
(๑) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตน
(๒) การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางน้า และทางระบายน้า
(๓) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
(๔) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ
(๕) การสาธารณูปโภค
(๖) การส่งเสริม การฝึกและประกอบอาชีพ
(๗) การพานิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน
(๘) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(๙) การจัดการศึกษา
(๑๐) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
(๑๑) การบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีงานของท้องถิ่น
(๑๒) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
(๑๓) การจัดให้มีและบารุงรักษาสถานที่ผักผ่อนหย่อนใจ
(๑๔) การส่งเสริมการกีฬา
-๔-
(๑๕) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาขน
(๑๖) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
(๑๗) การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(๑๘) การกาจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้าเสีย
(๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
(๒๐) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนกิจสถาน
(๒๑) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
(๒๒) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
(๒๓) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพและสาธารณสุขอื่น ๆ
(๒๔) การจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากปุาไม้ ที่ด้น ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดล้อม
(๒๕) การผังเมือง
(๒๖) การขนส่ง และการวิศวกรรมจราจร
(๒๗) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
(๒๘) การควบคุมอาคาร
(๒๙) การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
(๓๐) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและการสนับสนุน การปูองกันและรักษาความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
(๓๑) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชานในท้องถิ่น
------------------------------------